สาขาวิชาต่างๅ

สาขาวิชาต่างๅ ที่คณะบัญชีและการจัดการ



หลักสูตรบัญชีบัณฑิต(บช.บ.)หลักสูตรบัญชีบัณฑิต(เทียบเข้า)ผู้สำเร็จการศึกษาจะได้รับคุณวุฒิปริญญาตรีบัญชีบัณฑิต บช.บ. Bechalor of Accountancy ( B.Acc.)
แนวทางการประกอบอาชีพ   ภาครัฐ : นักวิชาการบัญชีและการเงิน ฝ่ายตรวจสอบ ฝ่ายพัสดุ เจ้าหน้าที่สรรพกร นักวิเคราะห์ นักวิจัย อาจารย์ ภาคเอกชนและรัฐวิสาหกิจ : พนักงานบัญชีและการเงินสมุห์บัญชี ผู้อำนวยการ ผู้ตรวจสอบและควบคุมภายใน ฝ่ายบัญชีและการเงิน   ประกอบธุรกิจส่วนตัว : ผู้สอบบัญชีอนุญาต ผู้สอบบัญชีภาษีอากร เปิดสำนักงานบัญชี ที่ปรึกษาการบัญชีและการเงิน ที่ปรึกษาวางระบบควบคุมภายใน





หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต(บธ.บ.)
สาขาวิชาการตลาดหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต(เทียบเข้า)สาขาวิชาการตลาดผู้สำเร็จการศึกษาจะได้รับคุณวุฒิปริญญาตรีบริหารธุรกิจบัณฑิต บธ.บ.(การตลาด)B.B.A. (Marketing)




แนวทางการประกอบอาชีพ
ผู้จัดการฝ่ายการตลาด นักวิจัยและพัฒนา นักวิเคราะห์ นักออกแบบและพัฒนา ฝ่ายสื่อสารการตลาด ฝ่ายโฆษณาประชาสัมพันธ์ นักขาย พิธีกร วิทยากรในการฝึกอบรม ออกแบบและผลิตงานสื่อสารทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และรัฐวิสาหกิจ นักวิชาการ อาจารย์ รวมถึงการประกอบธุรกิจส่วนตัว


หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต(บธ.บ.)
สาขาวิชาการจัดการ
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต(เทียบเข้า)
ผู้สำเร็จการศึกษาจะได้รับคุณวุฒิปริญญาตรีบริหารธุรกิจบัณฑิต บธ.บ.(การจัดการ) B.B.A. (Management) 


สาขาวิชาการจัดการ

แนวทางการประกอบอาชีพ
ผู้จัดการฝ่ายบุคคล นักวิจัยและพัฒนา นักวิเคราะห์ ฝ่ายงานบริหารองค์กร ฝ่ายโฆษณาประชาสัมพันธ์ นักขาย พิธีกร วิทยากรในการฝึกอบรม ธนาคาร บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ หรือส่วนงานหลักทรัพย์และการลงทุนของสถาบันการเงิน รวมถึงการเข้าทำงานในฝ่ายบริหารการเงินของบริษัท ต่าง ๆ นักวิชาการ อาจารย์ ตลอดจนสามารถนำความรู้ไปใช้ในธุรกิจส่วนตัว






หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต(บธ.บ.)
  สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ
  สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ   สาขาวิชาการจัดการพาณิชย์อิเล็คทรอนิกส์หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต(เทียบเข้า)   สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจผู้สำเร็จการศึกษาจะได้รับคุณวุฒิปริญญาตรีบริหารธุรกิจบัณฑิต บธ.บ.(คอมพิวเตอร์ธุรกิจ) B.B.A. (Business Computing) บริหารธุรกิจบัณฑิต บธ.บ.(เทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจ) B.B.A. (Business Information Technology Program) บริหารธุรกิจบัณฑิต บธ.บ.(การจัดการพาณิชย์อิเล็คทรอนิกส์) B.B.A. (Electronic Commerce Management) 


แนวทางการประกอบอาชีพ
  สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจนักคอมพิวเตอร์ โปรแกรมเมอร์ นักวิเคราะห์ระบบ นักพัฒนาระบบฐานข้อมูล นักพัฒนาซอฟแวร์ นักวิเคราะห์และวางระบบสารสนเทศ วางระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ต นักพัฒนางานทางดด้านโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผู้ประกอบการด้าน IT และนักวิชาการ อาจารย์    สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศธุรกิจผู้บริหารระบบสารสนเทศ เป็นผู้ใช้งานระดับสูง นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ โปรแกรมเมอร์ ผู้ดูแลระบบ/ผู้จัดการระบบ นักวิชาการ นักออกแบบเว็ป ผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบและพัฒนาระบบ ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบฐานข้อมูล นักพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผู้ประกอบการด้าน IT และนักวิชาการ อาจารย์    สาขาวิชาการจัดการพาณิชย์อิเล็คทรอนิกส์งานด้านการบริหารจัดการธุรกิจผ่านระบบเครือข่าย ผู้พัฒนาโปรแกรมทางด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ การซื้อขายสินค้าและบริการผ่านระบบคอมพิวเตอร์ และระบบสื่อสารโทรคมนาคมหรือ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ ธุรกิจระหว่างประเทศ การตลาดที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายสินค้าและบริการผ่านคอมพิวเตอร์ และอิเล็กทรอนิกส์ นักวิชาการ อาจารย์ผู้สอน หรือประกอบธุรกิจส่วนตัว







หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต(บธ.บ.)
สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรมนุษย์
ผู้สำเร็จการศึกษาจะได้รับคุณวุฒิปริญญาตรีบริหารธุรกิจบัณฑิต บธ.บ.(การจัดการทรัพยากรมนุษย์) B.B.A. (Human Resource Management) 



แนวทางการประกอบอาชีพ
ผู้จัดการ ฝ่ายบริหารงานบุคคล ฝ่ายพัฒนาและฝึกอบรม งานด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล งานวางแผนและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร นักวางแผนและนโยบาย นักวิชาการ อาจารย์ หรือ ประกอบธุรกิจส่วนตัว

หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต(บธ.บ.)
สาขาวิชาการบริหารการเงิน
ผู้สำเร็จการศึกษาจะได้รับคุณวุฒิปริญญาตรีบริหารธุรกิจบัณฑิต บธ.บ.(การบริหารการเงิน) B.B.A. (Financial Management) 


แนวทางการประกอบอาชีพเจ้าหน้าที่ฝ่ายการเงิน ฝ่ายบริหารงบประมาณ บริหารสินเชื่อ บริหารโครงการลงทุน วิเคราะห์และลงทุน ในตลาดทรัพย์ ตลอดจนกองทุนประเภทต่าง ๆ บริหารความเสี่ยงทางด้านการเงิน เศรษฐกร ผู้จัดการระบบ กระทรวงการคลัง บริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ สถาบันทางการเงิน นักวิชาการ อาจารย์ หรือประกอบธุรกิจส่วนตัว




หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต(บธ.บ.)
สาขาวิชาธุรกิจระหว่างประเทศ (นานาชาติ)
ผู้สำเร็จการศึกษาจะได้รับคุณวุฒิปริญญาตรีบริหารธุรกิจบัณฑิต บธ.บ.(ธุรกิจระหว่างประเทศ) B.B.A. (International Business) 


แนวทางการประกอบอาชีพเจ้าหน้าที่ฝ่ายการต่างประเทศ ผู้จัดการฝ่ายระหว่างประเทศ ผู้บริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ผู้รับผิดชอบการวางแผนงานความร่วมมือระหว่างประเทศ นักกลยุทธ์การตลาดระหว่างประเทศ ฝ่ายส่งออก-นำเข้า สินค้าระหว่างประเทศ ผู้ประกอบการ นักวิชาการ อาจารย์ผู้สอน หรือประกอบธุรกิจส่วนตัว




หลักสูตรเศรษศาสตรบัณฑิต (ศ.บ.)
สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ
ผู้สำเร็จการศึกษาจะได้รับคุณวุฒิปริญญาตรี
บริหารธุรกิจบัณฑิต ศ.บ.(เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ) B.B.A. (Business Economics) 


แนวทางการประกอบอาชีพ
สามารถประกอบอาชีพได้ทั้งในหน่วยงานของรัฐ เช่น กระทรวง ทบวง กรม กองต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงการคลัง สำนักงานคณะกรรมการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และสำนักงบประมาณในหน่วยงานเอกชนที่มีความต้องการนักเศรษฐศาสตร์ เช่น ธนาคารพาณิชย์ บริษัทเอกชน รัฐวิสาหกิจต่างๆ และสามารถศึกษาต่อในระดับ ที่สูงขึ้นทั้งในและต่างประเทศ หรือ นักวางแผนและนโยบาย นักวิชาการ อาจารย์ หรือ ประกอบธุรกิจส่วนตัว



ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

บุคลากร คณะการบัญชีและการจัดการ คณะบริหาร

ประวัติความเป็นมา คณะการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

Introducing MBS